โครงการออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท
กลุ่มที่ 3 กลุ่ม Inspiration
____________________________________________
การดำเนินงานตามกระบวนการ 3ส.
ส.1 สืบค้น (Research)
การออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ยาหม่อง
ชื่อ-สกุล ผู้ประกอบการ
|
กลุ่มทำสมุนไพรและศิลประดิษฐ์
คุณ สินมงคล อินธนู (ประธานกลุ่ม)
|
ที่อยู่
|
58 ม.4 ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท 17120
|
หมายเลขโทรศัพท์
|
056-475567,087-2071795
|
e-mail/website
|
ไม่มี
|
ผลิตภัณฑ์
|
ผลิตภัณฑ์ปัจจุบันของกลุ่มทำสมุนไพรบ้านคลองมอญที่ต้องการนำมาเข้าร่วมโครงการออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท คือ ผลิตภัณฑ์ยาหม่องผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ บรรจุภัณฑ์ มี 3 ขนาด คือ
1. ขนาดเล็ก 3 x 2 cm. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 cm.
|
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ประกอบการ
1.1 ชื่อผู้ประกอบการ : นางสิมงคล อินธนู อายุ 44 ปี
1.2 ตำแหน่งงาน : ประธานกลุ่ม
1.3 ชื่อที่ระบุเป็นผู้ผลิต : กลุ่มทำสมุนไพรและศิลประดิษฐ์
1.4 ที่อยู่สถานที่ประกอบการ : 58 หมู่ 4 ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท 17120
โทร. 056-475567, 087-2071795
2. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์
2.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : มาซา ยาหม่อง
2.2 ประเภท : สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
2.3 ส่วนประกอบ : เมนทอล พิมเสน ยูคาลิป อบเชย การบูร ไพลแก่ เสลดพังพอน ตะไคร้หอม
2.4 ประโยขน์ : เพื่อคลายเส้น ปวด เมื่อย หวัด ปวดข้อ วิงเวียนศรีษะ
2.5 คุณสมบัติ : เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ใช้เพื่อคลายเส้น ปวด เมื่อย หวัด ปวดข้อ วิงเวียนศรีษะ
2.6 ผลิตโดย : กลุ่มทำสมุนไพรและศิลประดิษฐ์
2.7 ที่อยู่ : 58 หมู่ 4 ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท 17120 โทร. 056-475567,087-2071795
2.8 การจัดจำหน่าย : สวนนกชัยนาถ, ร้าน CEO, วัดปากคลอง
2.9 ราคา : 25 บาท
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและการมอง (Product and Package Visual Analysis)
ปัญหาที่ต้องการพัฒนา
จุดอ่อน : สมุนไพรต้องไม่อับชื่น เพราะถ้าหากฝนตกหรือเปียกจะทำให้เกิดเชื้อราได้
จุดแข็ง : เป็นสินค้าที่ชาวบ้านในชุมชนร่วมกันทำ สมุนไพรที่ใช้ผลิตเป็นสมุนไพรที่ชาวบ้านปลูก กันเอง
อุปสรรค : ผลิตได้ช้า เพราะเป็นสินค้าทำด้วยมือ
โอกาส : อยากให้สินค้าส่งออกนอกจังหวัด
ความต้องการของผู้ประกอบการ
1. อยากให้ตัวบรรจุภัณฑ์สามารถมองเห็นตัวผลิตภัณฑ์ด้านในได้ 2. อยากให้ออกแบบโลโก้ มาซา
ปัจจุบันสภาพ/ปัญหาที่เกิดขึ้น/ความต้องการพัฒนาสินค้า
การออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ยาหม่อง
ภาพที่ 1 ภาพถ่ายสินค้ายาหม่องตะไคร้หอม เสลดพังพอน ไพลแก่
ที่มา : นิชาภา อึ๋งสืบเชื้อ กลุ่ม Inspiration, 2557.
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและการมอง (Product and Package Visual Analysis)
ภาพที่ 2 แสดงการศึกษาวิเคราะห์ส่วนประกอบภายในบรรจุภัณฑ์
ที่มา : นิชาภา อึ๋งสืบเชื้อ กลุ่ม Inspiration, 2557.
หมายเลข 1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ในที่นี้คือวัสดุขวดแก้ว
หมายเลข 2 คือ รายละเอียดของผลิตภัณฑ์
หมายเลข 3 คือ เนื้อยาหม่อง
ภาพที่ 3 แสดงการศึกษาวิเคราะห์ส่วนประกอบภายนอกบรรจุภัณฑ์
ที่มา : นิชาภา อึ๋งสืบเชื้อ กลุ่ม Inspiration, 2557.
หมายเลข 4 คือ ยาหม่องไพลแก่
หมายเลข 5 คือ ยาหม่องเสลดพังพอน
หมายเลข 6 คือ ยาหม่องตะไคร้หอม
หมายเลข 7 คือ ข้อมูลสรรพคุณของสินค้า
หมายเลข 8 คือ เบอร์โทรติดต่อ
หมายเลข 9 คือ ราคาสินค้า
หมายเลข10 คือ รูปแสดงสมุนไพรแต่ละกลิ่น
ภาพถ่ายสินค้ามุมต่างๆ
ภาพที่ 4 ภาพถ่ายด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังของผลิตภัณฑ์
ที่มา : นิชาภา อึ๋งสืบเชื้อ กลุ่ม Inspiration, 2557.
ภาพที่ 5 ภาพถ่ายด้านบน และด้านล่างของผลิคภัณฑ์
ที่มา : นิชาภา อึ๋งสืบเชื้อ กลุ่ม Inspiration. 2557.
ปัญหาที่ต้องการพัฒนา
จุดอ่อน : สมุนไพรต้องไม่อับชื่น เพราะถ้าหากฝนตกหรือเปียกจะทำให้เกิดเชื้อราได้
จุดแข็ง : เป็นสินค้าที่ชาวบ้านในชุมชนร่วมกันทำ สมุนไพรที่ใช้ผลิตเป็นสมุนไพรที่ชาวบ้านปลูก กันเอง
อุปสรรค : ผลิตได้ช้า เพราะเป็นสินค้าทำด้วยมือ
โอกาส : อยากให้สินค้าส่งออกนอกจังหวัด
ความต้องการของผู้ประกอบการ
อยากให้ตัวบรรจุภัณฑ์สามารถมองเห็นตัวผลิตภัณฑ์ด้านในได้ และสามารถเก็บกลิ่นได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น